แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางทันตกรรม พ.ศ.2558

17808_804444459610268_8352427001088274509_n

Guidline เล่มล่าสุดปี 2015 ถือเป็นการปรับปรุง มาตรฐานด้านความปลอดภัยทางทันตกรรมของประเทศไทย version ที่ 3 (นับจาก Guideline version แรกสุดที่ทำขึ้นในปี 2009 และตามมาด้วย version 2 ติดๆ กันในปี 2010 จากนั้นอีก 5 ปี จึงมาถึงเล่มปัจจุบัน 2015)

โดยหลักๆ การแบ่งหัวข้อของ Guidline จะเรียงลำดับตามธรรมชาติของขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ 1.พูดคุยกับคนไข้ 2.ให้การรักษา 3.การเตรียมเครื่องมือให้ปลอดเชื้อหลังเสร็จงาน 4.การบันทึกข้อมูลการรักษา 5.การประชุมภายในหน่วยงานเพื่อประเมืนความเสี่ยงทั้งที่เกิดขึ้นแล้ว และที่อาจจะเกิดขึ้น (หัวข้อที่ 5 นี้ ถือเป็นหัวข้อใหม่เอี่ยมล่าสุดที่เพิ่งเพิ่มเข้ามาใน Guideline ล่าสุด 2015)

ถ้าเรียง step ตามตัวอักษร จะได้ CT-IRM –>Communication Treatment Infection control Record และ risk Management (ชื่อเต็มทุกหัวข้อ ให้เติมคำว่า Safe ไปข้างหน้าสุด)

Guidline ฉบับแรกสุดให้ความสำคัญกับ Treatment มาก จึงให้เรียงลำดับ Treatment มาเป็นหัวข้อแรกสุด แล้วตามด้วย Communication แต่ Guideline ฉบับต่อมา จะเปลี่ยนเป็นการเรียงในขั้นตอนการทำงานจริง CT-IRM)

Guideline ฉบับแรก

Guideline ฉบับที่ 2 และ 3 (ปัจจุบัน) ค่อนข้างเหมือนกันประมาณครึ่งเล่มเนื้อหาทั้งหมด โดยส่วนที่แตกต่างชัดเจนที่สุด คือ เล่ม 2015 จะเพิ่ม Risk Management มาเป็นหัวข้อแยกใหม่ต่างหาก

ส่วนที่แตกต่างรองลงไป คือ หัวข้อ I (safe Infection Control) เพิ่มรายละเอียดขึ้นมาก ละเอียดขนาดเริ่มตั้งแต่วิธีล้างมือ ไปจนวิธีการ pack ของเพื่อ Autoclave กันเลยทีเดียว และ ส่วนแตกต่างยิบย่อย แต่ถือว่าพิเศษ คือ การเปลี่ยน wording บางคำจากปี 2010 เช่น การตัดคำว่า “ส่งเสริมให้…” ออกทั้งหมดในทุกหัวข้อที่เคยเขียน มาใช้คำว่า “ควรให้…” แทนที่ ทำให้ระดับภาษาของการ Guide เข้มข้นขึ้นไปอีก step

นอกจากนั้นระดับความเข้มข้นในบางหัวข้อ ยังปรับเป็น “ให้…” (ไม่ใช้ “ควรให้”)

Guideline ฉบับปี 2010

Guideline ฉบับปี 2015

 

 

Leave a Reply

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s